ความเป็นมาความสำคัญ
ของ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำ
ยกตัวอย่างอารยธรรมลุ่มแม่น้ำ 5 อารยธรรม
1. อารยธรรมไทกริส - ยูเฟรติส
2.อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
3.อารธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์
4.อารยธรรมแม่น้ำฮวงโห
1. อารยธรรมไทกริส - ยูเฟรติส
ดินแดนเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมีย
เป็นคำภาษากรีก แปลว่า
ที่ระหว่างแม่น้ำ ดินแดน
ที่ชาวกรีกเรียกว่า เมโสโปเตเมียนี้ตั้งอยู่ในลุ่มน้ำไทกรีสและ ยูเฟรตีสเป็น
ส่วนหนึ่งของ "ดินแดนรูป
พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์" ซึ่งเป็นดินแดนรูปครึ่งวงกลมผืนใหญ่
ที่ทอดโค้งขึ้นไปจากฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและอ่าวเปอร์เซีย
1.1
อาณาจักรเมโสโปเตเมีย
- ชาวสุเมเรียน Sumerian เป็นชนเผ่าแรกที่เข้าครอบครอง และทำการก่อสร้างระบบชลประทานเป็นชาติแรก
- สังคมของสุเมเรียนยกย่อง เกรงกลัวเทพเจ้า นิยมก่อสร้างศาสนสถานเรียกว่า “ซิกกูแรต” สร้างด้วยอิฐตากแห้ง
- ชาวสุเมเรียน เป็นกลุ่มแรกที่ประดิษฐ์อักษร ได้แก่ อักษรลิ่ม หรือ “คูนิฟอร์ม” cuneiform นักประวัติศาสตร์จึงนับเอาเป็นเกณฑ์ในการแบ่งยุคประวัติศาสตร์
- “กิลกาเมซ” Epic of Gilgamesh เป็นมหากาพย์ ที่ถูกแต่งขึ้น เป็นเรื่องเกี่ยวกับน้ำท่วมโลก
- มีความเจริญทางด้านคณิตศาสตร์ ปฏิทิน และการชั่ง ตวง วัด
- ชาวสุเมเรียน Sumerian เป็นชนเผ่าแรกที่เข้าครอบครอง และทำการก่อสร้างระบบชลประทานเป็นชาติแรก
- สังคมของสุเมเรียนยกย่อง เกรงกลัวเทพเจ้า นิยมก่อสร้างศาสนสถานเรียกว่า “ซิกกูแรต” สร้างด้วยอิฐตากแห้ง
- ชาวสุเมเรียน เป็นกลุ่มแรกที่ประดิษฐ์อักษร ได้แก่ อักษรลิ่ม หรือ “คูนิฟอร์ม” cuneiform นักประวัติศาสตร์จึงนับเอาเป็นเกณฑ์ในการแบ่งยุคประวัติศาสตร์
- “กิลกาเมซ” Epic of Gilgamesh เป็นมหากาพย์ ที่ถูกแต่งขึ้น เป็นเรื่องเกี่ยวกับน้ำท่วมโลก
- มีความเจริญทางด้านคณิตศาสตร์ ปฏิทิน และการชั่ง ตวง วัด
1.2
อาณาจักรบาบิโลเนีย Babylonia
- หลังจากสุเมเรียนเสื่อมอำนาจ ชาวอามอไรต์ Amorite ได้ตั้งอาณาจักรบาบิโลน ขึ้นมา การปกครองแบบรวมศูนย์ การจัดเก็บภาษี การเกณฑ์ทหาร
- สมัยพระเจ้าฮัมมูราบี ( 1792-1745 B.C.) ได้มี “ประมวลกฎหมายฮัมมุราบี” เป็นลายลักษณ์อักษร จารึกแผ่นศิลา ยึดถือหลัก ตาต่อตา ฟันต่อฟัน ในการลงโทษ
- หลังจากสุเมเรียนเสื่อมอำนาจ ชาวอามอไรต์ Amorite ได้ตั้งอาณาจักรบาบิโลน ขึ้นมา การปกครองแบบรวมศูนย์ การจัดเก็บภาษี การเกณฑ์ทหาร
- สมัยพระเจ้าฮัมมูราบี ( 1792-1745 B.C.) ได้มี “ประมวลกฎหมายฮัมมุราบี” เป็นลายลักษณ์อักษร จารึกแผ่นศิลา ยึดถือหลัก ตาต่อตา ฟันต่อฟัน ในการลงโทษ
ฮิตไทต์ Hittite
- เข้ายึดครองแทนในดินแดนแถบนี้
เมื่อ 1590 B.C.
คัสไซต์ Kassite
- อพยพมาจาก เทือกเขาซากรอส เข้าครอบครองต่อ และมีอายุยาวนานต่อเนื่องกว่า 400 ปี
คัสไซต์ Kassite
- อพยพมาจาก เทือกเขาซากรอส เข้าครอบครองต่อ และมีอายุยาวนานต่อเนื่องกว่า 400 ปี
1.3 จักรวรรดิอัสซีเรีย
Assyrian
- พวกอัสซีเรียน 800 B.C. ได้เข้ายึดครองกรุงบาบิโลน มีศูนย์กลางที่ นิเนเวห์
- สมัยพระเจ้าอัสชูร์บานิปาล 668-629 B.C. อัสซีเรียมีความเจริญขีดสุด
- พวกอัสซีเรียน 800 B.C. ได้เข้ายึดครองกรุงบาบิโลน มีศูนย์กลางที่ นิเนเวห์
- สมัยพระเจ้าอัสชูร์บานิปาล 668-629 B.C. อัสซีเรียมีความเจริญขีดสุด
1.3 จักรวรรดิอัสซีเรีย Assyrian
- พวกอัสซีเรียน 800 B.C. ได้เข้ายึดครองกรุงบาบิโลน มีศูนย์กลางที่ นิเนเวห์
- สมัยพระเจ้าอัสชูร์บานิปาล B.C. อัสซีเรียมีความเจริญขีดสุด
- พวกอัสซีเรียน 800 B.C. ได้เข้ายึดครองกรุงบาบิโลน มีศูนย์กลางที่ นิเนเวห์
- สมัยพระเจ้าอัสชูร์บานิปาล B.C. อัสซีเรียมีความเจริญขีดสุด
1.4
อาณาจักรคาลเดีย Chaldean
- 612 B.C. เผ่าคาลเดีย เข้ายึดครองนิเนเวห์สำเร็จ สถาปนากรุงบาบิโลนขึ้นใหม่
- สมัยพระเจ้าเนบูคัดเนซซาร์ 605-562 B.C. สามารถตีเยรูซาเลม และกวาดต้นเชลยมาเป็นจำนวนมาก ได้สร้าง “สวนลอยแห่งบาบิโลน” Hanging Gardens of Babylon
- 612 B.C. เผ่าคาลเดีย เข้ายึดครองนิเนเวห์สำเร็จ สถาปนากรุงบาบิโลนขึ้นใหม่
- สมัยพระเจ้าเนบูคัดเนซซาร์ 605-562 B.C. สามารถตีเยรูซาเลม และกวาดต้นเชลยมาเป็นจำนวนมาก ได้สร้าง “สวนลอยแห่งบาบิโลน” Hanging Gardens of Babylon
- ชาวคาลเดียน เป็นชาติแรกที่นำเอาความรู้ด้านดาราศาสตร์มาพยากรณ์โชคชะตามนุษย์
และยังสามารถคำนวณด้านดาราศาสตร์ได้อย่างแม่นยำ
- 539
B.C. พระเจ้าไซรัสมหาราช King Cyrus the Great
- เข้ายึดครอง และผนวกเข้ากับจักรวรรดิ์เปอร์เซีย ทำให้ประวัติศาสตร์แถบเมโสโปเตเมียสิ้นสุดลง
- เข้ายึดครอง และผนวกเข้ากับจักรวรรดิ์เปอร์เซีย ทำให้ประวัติศาสตร์แถบเมโสโปเตเมียสิ้นสุดลง
2.อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อาณาเขตอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ เป็นอารยธรรมที่ถือกำเนิดขึ้นบริเวณลุ่มแม่น้ำสินธุในประเทศอินเดียและปากีสถานในปัจจุบัน
ถือเป็นอารยธรรมยุคแรกๆของโลก วัฒนธรรมเก่าสุดเริ่มจาก
1.เมืองอัมรี (Amri) บริเวณปากแม่น้ำสินธุ อายุ
4,000 B.C. พบเครื่องปั้นดินเผาระบายสี
คล้ายของเมโสโปเตเมีย
2. เมืองฮารับปา และโมเหนโจ –ดาโร อายุ 2,600 – 1,900 B.C.
2. เมืองฮารับปา และโมเหนโจ –ดาโร อายุ 2,600 – 1,900 B.C.
3. เมืองชุคาร์ และจันหุดาโร อายุ 1,000 – 500 B.C.
เป็นอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ หรือวัฒนธรรมฮารัปปา(HarappaCulture) ซึ่งเรียกชื่อตามเมือง Harappa ที่เป็นแหล่งขุดค้นทางโบราณคดีอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนี้หากจะเปรียบกับอารยธรรมสำคัญ ๆ
ในแหล่งอื่นของโลก
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
เริ่มประมาณ 2,500 B.C. - 1,500 B.C. โดยชาวดราวิเดียน ต่อมา
1,500 B.C. – คริสต์ศักราชที่ 6 เป็นอารยธรรมที่ชาวอารยันสร้างขึ้นจนกลายเป็นแบบแผนของอินเดียต่อมา
นอกจากนี้ยังพบหินมีค่า
เช่น หยก เทอคอยท์ พบว่ามีการใช้อักษร 270 ตัว
และเขียนจากขวาไปซ้าย
ลักษณะของคนเป็นพวก Proto-Australoid คือ ผิวดำ ผมหยิก
ทั้งผู้หญิงและผู้ชายไว้ผมยาว ผู้ชายไว้เครา ผู้หญิงชอบเครื่องประดับ
ลักษณะสำคัญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
การวางผังเมือง (City Planning) แผนผังมีระเบียบ งดงาม
มีถนนตัดกัน แบ่งเมืองเป็นตารางแยกพื้นที่ใช้สอยออกจากกัน เช่นที่อยู่อาศัย
อาคารสาธารณะ ที่อยู่ช่างฝีมือ ยุ้งข้าว ป่าช้า ท่าเรือ พื้นที่ทางศาสนา?
แสดงถึงความรู้ด้านวิศวกรรมการสำรวจและเรขาคณิตอย่างดี
• มีถนน และซอยตัดกันเป็นมุมฉาก บ้านอยู่ 2 ฟาก ถนนมีเสาตะเกียงเป็นระยะๆ
• การสุขาภิบาล มีประสิทธิภาพมาก ทุกบ้านมีห้องน้ำ มีท่อระบายน้ำเสีย-น้ำดี พบอ่างอาบน้ำใหญ่ เจริญกว่าอารยธรรมอื่นจนสมัยโรมันจึงมีห้องน้ำดีๆเทียบได้
• มีการสร้างกำแพงเมืองและป้อมปราการเพื่อกันผู้รุกราน มีอาวุธ กระสุนดินเผา
• มีถนน และซอยตัดกันเป็นมุมฉาก บ้านอยู่ 2 ฟาก ถนนมีเสาตะเกียงเป็นระยะๆ
• การสุขาภิบาล มีประสิทธิภาพมาก ทุกบ้านมีห้องน้ำ มีท่อระบายน้ำเสีย-น้ำดี พบอ่างอาบน้ำใหญ่ เจริญกว่าอารยธรรมอื่นจนสมัยโรมันจึงมีห้องน้ำดีๆเทียบได้
• มีการสร้างกำแพงเมืองและป้อมปราการเพื่อกันผู้รุกราน มีอาวุธ กระสุนดินเผา
ศาสนา
ไม่พบโบสถ์วิหารใหญ่โต แต่ชาวสินธุคงนับถือเทพเจ้าหลายองค์ เช่น เทพีเจ้าแม่
เทพเจ้าผู้ชาย ศิวลึงค์ นับถือต้นไทร ต้นโพ ม้ามีเขา
เทพมีงูจงอางแผ่แม่เบี้ยเหนือศีรษะ นับถือพระอาทิตย์ มีรูปสวัสดิกะ
รูปวงล้อรถ
• การทำศพ มีการเผาศพ เก็บขี้เถ้าใส่โกศ หรือฝังศพพร้อมของใช้ และนำศพให้แร้งการกิน แล้วจึงเก็บกระดูกใส่โกศ
• การทำศพ มีการเผาศพ เก็บขี้เถ้าใส่โกศ หรือฝังศพพร้อมของใช้ และนำศพให้แร้งการกิน แล้วจึงเก็บกระดูกใส่โกศ
3.อารธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์
ชาวอียิปต์เป็นหนึ่งในกลุ่มชนโบราณพวกแรกๆที่ประสบความสำเร็จในการสร้างและพัฒนาอารยธรรมของตนเนื่องจากมีปราการธรรมชาติอย่าง
ทะเลทรายซาฮาราทำให้อียิปต์ปราศจากการคุกคามจากศัตรูทางบกและความสมบูรณ์ของแม่น้ำไนล์ก็ทำให้ปัญหาความอดอยากแทบไม่ปรากฏด้วย
เหตุนี้พวกเขาจึงสามารถ พัฒนาอารยธรรมได้โดยปราศจาก
อุปสรรคใดๆ
นักประศาสตร์แบ่งช่วงเวลาสามพันปีของอียิปต์ออกเป็นช่วงต่างๆ
โดยเริ่มจาก
ปลายยุคก่อนราชวงศ์ (3100 ปี
ก่อนค.ศ.) เป็นยุคที่ยังไม่ได้ตั้งเป็นอาณาจักร
ยุคอาณาจักรเก่า เริ่มตั้งแต่ 2950 -
2150 ปีก่อน ค.ศ. ประกอบด้วยราชวงศ์ที่หนึ่งถึงราชวงศ์ที่แปด
ยุครอยต่อของอาณาจักร (2125 -
1975 ปี ก่อน ค.ศ.) ประกอบด้วยราชวงศ์ที่เก้าถึงสิบเอ็ด
ยุคอาณาจักรกลาง เริ่มตั้งแต่ 1975 -
1520 ปีก่อน ค.ศ. ประกอบด้วยราชวงศ์ที่สิบสองถึงสิบเจ็ด
ยุคอาณาจักรใหม่ เริ่มตั้งแต่ 1539 -
1075 ปี ก่อน ค.ศ. ประกอบด้วยราชวงศ์ที่สิบแปดถึงยี่สิบ
มีการประดิษฐ์อักษรฮีโรกลิฟ เมื่อ ราว
4,00ปีก่อนค.ศ. มีความหมายว่าอักษรอัน ศักดิ์สิทธิ์
เพราะใช้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนา
บันทึกเป็นอักษรภาพแสดงความหมายสิ่งต่างๆใช้ภาพแทนเสียงและพยัญชนะต่อมาดัดแปลเป็นอักษรหวัดเรียก
อักษรฮีราติก
บันทึกเรื่องราวทั่วไป รู้จักทำกระดาษจากต้นกก เรียกปาปิรัส
รู้จักทำกระดาษเป็นชาติแรก paper มาจากคำว่า papyrus หมึกเขียนใช้ยางไม้ละลายน้ำผสมเขม่า
ปากกาทำจากก้านต้นอ้อ
การบันทึกด้วยอักษรฮีโรกลีฟิฟเป็นความลับตลอด 2,000 ปีอักษรฮีโรกลิฟไม่มีผู้ใดใช้เมื่อสิ้นสุดอียิปต์โบราณ
จน ค.ศ. 1799 ทหารฝรั่งเศสชื่อบูรชาร์ด พบแผ่นหินชนวน
จารึกอักษรกรีก อักษรเฮียโรกลีฟ อักษรเดโมติก ที่เมืองโรเชตตา ในประเทศอียิปต์ ใน
ค.ศ. 1822 นักโบราณคดีชาวฝรั่งเศส ชื่อ ฟรองซัวส์ ชองโปลิยอง
สามารถถอดข้อความอักษรฮีโรกลีฟได้โดยเทียบเคียงกับอักษรกรีก
อียิปต์มีความเจริญด้านวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ เรขาคณิตคำนวณการสร้างปิรามิดวิหาร
คิดค้นระบบการนับเลข คำนวณค่าบวกลบ และหาร หาพื้นที่และปริมาตร คิดค้นปฎิทินทาง
สุริยคติ ปีหนึ่งมี 360 วัน
12
เดือน เดือนหนึ่งมี 30 วัน ที่เหลือ 5 วันเป็นวันสำคัญในช่วงปลายปี
หาตำแหน่งดวงจันทร์ ดวงดาว
4.อารยธรรมจีนในแถบลุ่มแม่น้ำฮวงโห
แม่น้ำฮวงโห
" หรือ แม่น้ำหวงเหอ หรือ
แม่น้ำเหลือง เป็นแม่น้ำที่ยาวเป็นอันดับสองของประเทศจีน รองจากแม่น้ำแยงซีเกียง
มีความยาว 5,464 กิโลเมตร [1] สูงเหนือระดับน้ำทะเล ถึง 4,500 เมตร
[2]ไหลจากฝั่งตะวันตกมาทางตะวันออก ผ่านมณฑล ชิงไห่ เสฉวน กานซู หนิงเซี่ย
มองโกเลียใน ซานซี เหอหนาน และซานตง ออกสู่ทะเลโป๋ไห่ซึ่งเป็นทะเลในอ่าวทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศจีน
ลุ่มน้ำฮวงโห เป็นแหล่งกำเนิดอารยธรรมจีนมาช้านาน
แม่น้ำฮวงโหเป็นแม่น้ำที่ใหญ่เป็นอันดับสองของจีน ไหลจากฝั่งตะวันตกมาทางตะวันออก ยาวทั้งสิ้น 5464 กิโลเมตร เหตุที่ได้ชื่อว่า“ฮวงโห (จีนแต้จิ๋ว) หรือ หวงเหอ (จีนกลาง) – แม่น้ำเหลือง” ก็เพราะว่า น้ำในแม่น้ำมีสีเหลือง แต่ทว่า เดิมทีน้ำในแม่น้ำฮวงโหมิได้เป็นสีเหลืองแม้แต่น้อย เพียงแต่เป็นเพราะตอนที่แม่น้ำฮวงโหไหลผ่านที่ราบสูงที่เกิดจากดินเหลือง (ดินดี) จึงได้พัดพาเศษตะกอนดินทรายสีเหลืองมาด้วยเป็นจำนวนมาก ดังนั้น กระแสน้ำในช่วงครึ่งหลังจึงเปลี่ยนเป็นสีเหลือง บางช่วงของแม่น้ำฮวงโหมีความคดเคี้ยวมาก ดังนั้น จึงถูกขนานนามว่า “แม่น้ำฮวงโหเก้าโค้ง” เวลาที่ล่องเรือมาถึงบริเวณเหล่านี้ ต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ
แม่น้ำฮวงโหเป็นแม่น้ำที่ใหญ่เป็นอันดับสองของจีน ไหลจากฝั่งตะวันตกมาทางตะวันออก ยาวทั้งสิ้น 5464 กิโลเมตร เหตุที่ได้ชื่อว่า“ฮวงโห (จีนแต้จิ๋ว) หรือ หวงเหอ (จีนกลาง) – แม่น้ำเหลือง” ก็เพราะว่า น้ำในแม่น้ำมีสีเหลือง แต่ทว่า เดิมทีน้ำในแม่น้ำฮวงโหมิได้เป็นสีเหลืองแม้แต่น้อย เพียงแต่เป็นเพราะตอนที่แม่น้ำฮวงโหไหลผ่านที่ราบสูงที่เกิดจากดินเหลือง (ดินดี) จึงได้พัดพาเศษตะกอนดินทรายสีเหลืองมาด้วยเป็นจำนวนมาก ดังนั้น กระแสน้ำในช่วงครึ่งหลังจึงเปลี่ยนเป็นสีเหลือง บางช่วงของแม่น้ำฮวงโหมีความคดเคี้ยวมาก ดังนั้น จึงถูกขนานนามว่า “แม่น้ำฮวงโหเก้าโค้ง” เวลาที่ล่องเรือมาถึงบริเวณเหล่านี้ ต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ
ในสมัยโบราณ ลุ่มแม่น้ำฮวงโหมีสภาพดินฟ้าอากาศอบอุ่น
เป็นบริเวณที่ตั้งรกรากของชนชาวจีนมาแต่แรกเริ่ม มีเมืองหลวงเก่า 5 แห่งในจำนวน
“เมืองหลวงที่ยิ่งใหญ่ 7 แห่ง - ซีอาน, ลั่วหยาง, นานกิง, ปักกิ่ง, ไคฟง, หางโจว, อานหยาง”ของประเทศจีน
ตั้งอยู่ตามลุ่มแม่น้ำฮวงโห อีกทั้งสิ่งประดิษฐ์ในยุคโบราณที่สำคัญยิ่ง
4 อย่างของจีน ( กระดาษ, การพิมพ์, เข็มทิศ, ดินปืน ) ก็มีแหล่งกำเนิดในบริเวณลุ่มแม่น้ำฮวงโห ดังนั้น
เราจึงกล่าวได้ว่าแม่น้ำฮวงโหเป็นสายน้ำที่ก่อกำเนิดของชนชาวจีน
ผลงานของขงจื๊อรวบรวมไว้เรียก ตำรับ 5
เล่มของขงจื๊อประกอบด้วย
1) อี้จิง ตำรับว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง
2) ชูจิง ตำรับว่าด้วยประวัติศาสตร์
3) ซือจิง ว่าด้วยกาพย์กลอน
4) หลี่จิ้ง ว่าด้วยพิธีการ
5) ชุนชิว พงศาวดารฤดูใบไม้ผลิและใบไม้ร่วง
1) อี้จิง ตำรับว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง
2) ชูจิง ตำรับว่าด้วยประวัติศาสตร์
3) ซือจิง ว่าด้วยกาพย์กลอน
4) หลี่จิ้ง ว่าด้วยพิธีการ
5) ชุนชิว พงศาวดารฤดูใบไม้ผลิและใบไม้ร่วง
อ้างอิงจาก :
http://www.arayanewspaper.com/content-%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8-3-1759-28992-1.html
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B9%8C&hl=th&pwst=1&biw=1600&bih=775&prmd=imvns&tbm=isch&tbo=u&source=univ&sa=X&ei=oLP3T5GdF9HjrAeG2vjbBg&ved=0CF0QsAQ
ข้อมูลเพิ่มเติม
จัดทำโดย
นางสาว นิศา เลาะวิถี ม.6.8